[mathjax]
ผมสอนนักเรียนชั้น ม.6 ครับ เรื่อง ลำดับและอนุกรมครับ วันนี้ก็เลยมีโอกาสสอนลำดับหนึ่งซึ่งตอนไปฝึกสอนที่โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น
เรื่อง ลำดับเลขคณิตสองชั้นครับ
จากปกติเรารู้ว่า ลำดับเลขคณิต ง่ายๆ เช่น 1, 3, 5, 7,… ลำดับมีผลต่างร่วม คือ มันต่างกันทีละ 2 จาก 1 ไป 3 จาก 3 ไป 5 และจาก 5 ไป 7 จะมีผลต่างร่วมเป็น 2 ทุกๆ พจน์ไป เป็นเช่นนี้เรื่อยๆ
อย่างนี้เรียกว่า ลำดับเลขคณิต “ธรรมดา”
ลำดับเลขคณิตที่ผมจะอธิบายวันนี้ คือ มันเป็นสองชั้นครับ
ดูลำดับนี้
1, 4, 10, 19, …
ถ้านำ 4-1=3 10-4=6 19-10=9
จะเห็นว่า มันเพิ่มขึ้น เป็น 3, 6, 9,…
นั่นคือ ผลต่างของมันจะเรียงเป็นลำดับเลขคณิต คือ 3, 6, 9,…
คือมันเป็นลำดับแบบสองชั้นครับ
การหาพจน์ทั่วไปของลำดับสองชั้นนั้น มันจะอยู่ในรูป เมื่อ a, b, c เป็นจำนวนจริง
เราจะมาหาว่า a, b, c นี่มันคืออะไรกันแน่ โดยการใช้พจน์สามพจน์แรกครับ
แทนค่า
จะได้ดังนี้
…(1)
…(2)
…(3)
มาแก้สมการกันครับ
เริ่มจากการกำจัดตัวแปร c โดยนำ (2)-(1)
…(4)
ต่อไป นำ (3)-(2)
…(5)
จากสองสมการ (4) และ (5) เราจะมาแก้สมการหา b กันครับ นำ (5)-(4) จะได้
ดังนั้น
เมื่อได้ a แล้ว นำ a ไปแทนใน (4) จะได้
ย้ายข้างหาค่า b จะได้
แทน a, b ใน (1) จะได้
แก้สมการจะได้
ดังนั้นเราจะได้ a, b, c แล้วนำมาใส่ในสมการทั่วไป ได้ดังนี้
แค่นี้เราก็จได้พจน์ทั่วไปแล้วครับ
ต่อเนื่องไปยังผลบวก n พจน์แรกเลยนะ
เนื่องจาก เรารู้ว่า
เราจะมาหาผลบวก n พจน์แรก โดยการใส่ซัมเมชั่นเข้าไปใน
จะได้
คำนวณจะได้
นั่นคือเราจะได้ผลบวก n พจน์แรกของอนุกรมดังกล่าวไว้ใช้งานต่อไปครับ
ขอจบเท่านี้ครับ
Discover more from KruJakkrapong 's Blog
Subscribe to get the latest posts sent to your email.
ดีเลยค่ะ ได้ความรู้เพิ่มเติม เพราะดิฉันเรียนศิลป์มา ขอบคุณมาก